เรื่องราวของล่ามไทยโครงการรถไฟจีน-ไทย
ภาพถ่ายทางอากาศเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 แสดงให้เห็นสถานที่ก่อสร้างทางรถไฟจีน-ไทยในจังหวัด
นครราชสีมา ประเทศไทย (ซินหัว/หวัง เติ้ง)
ปัณรส บุญเสริม อายุ 33 ปี ล่ามบริษัทกำกับดูแลส่วนแรกของโครงการรถไฟจีน-ไทย
การรถไฟจีน-ไทยซึ่งเป็นส่วนสำคัญของเครือข่ายทางรถไฟข้ามเอเชีย จะเป็นทางรถไฟความเร็วสูงรางมาตรฐานสายแรกของไทย ส่วนแรกเชื่อมต่อกรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของไทยกับจังหวัดนครราชสีมา ซึ่งปัณรสอาศัยอยู่กับปู่ย่าตายายในขณะนี้ คาดว่าจะเริ่มเปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2569 และลดระยะเวลาการเดินทางจากกว่าสี่ชั่วโมงเหลือเพียงชั่วโมงกว่าเท่านั้น และเมื่อส่วนที่สองเสร็จสิ้นในปี พ.ศ. 2572 ทางรถไฟสายนี้จะเชื่อมต่อกับทางรถไฟจีน-ลาว จากนั้นประชาชนสามารถเดินทางโดยรถไฟจากกรุงเทพฯ ผ่านลาวไปยังเมืองคุนหมิง มณฑลยูนนานภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีน
หลังจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยหนานไค ที่นครเทียนจิน ภาคเหนือของจีนเป็นเวลาหลายปี ปัณรสได้ไปท่องเที่ยวตามสถานที่ต่างๆหลายแห่งในประเทศจีนและเห็นว่ารถไฟความเร็วสูงเปลี่ยนวิถีชีวิตคนในท้องถิ่นได้อย่างไร เธอเชื่อว่าการรถไฟจีน-ไทยจะไม่เพียงอำนวยความสะดวกในการเดินทางของผู้อยู่อาศัยในท้องถิ่นเท่านั้น แต่ยังช่วยฟื้นฟูภาคการท่องเที่ยวและการเติบโตของเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ ไปพร้อมกันด้วย เธอเล่าว่าเมื่อปี พ.ศ. 2555 เธอใช้เวลากว่า 20 ชั่วโมงเมื่อเพื่อเดินทางจากคุนหมิงกลับไปเชียงใหม่ของไทย ต้องเหนื่อยกับการเดินทาง เธอตั้งตารอให้การสร้างทางรถไฟใหม่เสร็จ ซึ่งเธอภูมิใจมากที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการก่อสร้าง เมื่อสร้างทางรถไฟเสร็จแล้ว เธฮจะขึ้นเหนือไปยังเมืองคุนหมิงอย่างแน่นอน
แฟ้มภาพไม่ระบุวันที่ ปัณรส บุญเสริม ถ่ายภาพรับปริญญาที่มหาวิทยาลัยหนานไค นครเทียนจิน ทางตอนเหนือ
ของจีน (ซินหัว)
ปัณรส บุญเสริม นั่งรอที่สถานีรถไฟปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2566 (ซินหัว/หวัง เติ้ง)
ปัณรส บุญเสริม ขับรถผ่านสถานที่ก่อสร้างทางรถไฟจีน-ไทยในจังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย 24 กุมภาพันธ์
2566 (ซินหัว/หวัง เติ้ง)
ปัณรส บุญเสริม (ขวา) ทำงานที่บริษัทควบคุมส่วนแรกของโครงการรถไฟจีน-ไทยในจังหวัด
นครราชสีมา ประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2566 (ซินหัว/หวัง เติ้ง)
ภาพถ่ายทางอากาศเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 แสดงให้เห็นสถานที่ก่อสร้างทางรถไฟจีน-ไทยในจังหวัด
นครราชสีมา ประเทศไทย (ซินหัว/หวัง เต็ง)
ปัณรส บุญเสริม (ที่ 2 จากขวา) ร่วมการประชุมที่บริษัทกำกับดูแลส่วนแรกของโครงการรถไฟจีน-ไทยในจังหวัด
นครราชสีมา ประเทศไทย 24 กุมภาพันธ์ 2566 (ซินหัว/หวัง เติ้ง)
ปัณรส บุญเสริม ทำงานที่บริษัทควบคุมส่วนแรกของโครงการรถไฟจีน-ไทยที่จังหวัดนครราชสีมา
ประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2566 (ซินหัว/หวัง เติ้ง)
ปัณรส บุญเสริม บันทึกภาพ ณ สถานที่ก่อสร้างทางรถไฟจีน-ไทย ที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย 23
กุมภาพันธ์ 2566 (ซินหัว/หวัง เติ้ง)
ภาพถ่ายทางอากาศเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 แสดงให้เห็นสถานที่ก่อสร้างทางรถไฟจีน-ไทยในจังหวัด
นครราชสีมา ประเทศไทย (ซินหัว/หวัง เต็ง)
ปัณรส บุญเสริม ทำงานที่ไซต์ก่อสร้างทางรถไฟจีน-ไทยในจังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย
23 กุมภาพันธ์ 2566 (ซินหัว/หวัง เติ้ง)